นวัตกรรมเรื่อง แบบประเมินพฤติกรรมการดูแลตนเองในผู้ป่วย COPD
 

นางนงลักษณ์  นะวาระ  ตึกผู้ป่วยในชาย

 

 

ปัญหา/สภาพปัจจุบัน

 

ขาดการประเมินพฤติกรรมการดูแลตนเอง ของผู้ป่วย COPD ก่อนกลับบ้าน ทำให้ต้อง กลับมารักษาซ้ำ  จากการปฎิบัติ ตัวไม่เหมาะสม

 

 

ประโยชน์ที่จะได้รับ

 

1 ผู้ป่วย COPD มีทักษะและพฤติกรรมที่ถูกต้อง ในการดูแลตนเอง

2 ลดการกลับมารักษาซ้ำ

 

แบบบันทึกแผนการรักษา และการวางแผนจำหน่าย

“โรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มาด้วยหอบเฉียบพลัน”

 

 

แผนการรักษาของแพทย์

คำแนะนำเพื่อวางแผนจำหน่าย

ลงชื่อ/ วันที่

การวินิจฉัย (Diagnosis)

“COPD with Acute Exacerbation” (J441)

D – การวินิจฉัย

- แนะนำและให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยและญาติ

 

แผนการรักษาของแพทย์ (Treatment plan)

  • ABC support
  • รักษาภาวะพร่องออกซิเจน
  • รักษาและป้องกันภาวการณ์หายใจล้มเหลว
  • ให้ยาขยายหลอดลม และยาต้านการอักเสบ
  • หาปัจจัยที่เป็นเหตุกระตุ้นและรักษา
  • ปรับยาที่จะใช้รักษาต่อเนื่อง เช่น ICS, LABA
  • สอนใช้เครื่องมือที่จะใช้บริหารยาพ่น
  • Breathing Exercise
  • หาโรคร่วม เช่น IHD, Cor pulmonale และให้การรักษา
  • ส่งต่อไปยังสถานพยาบาลใกล้บ้าน หรือนัดมาติดตามการรักษา

M – การใช้ยา

- การใช้ยาสเตียรอยด์เพื่อควบคุมอาการเฉียบพลัน

- การใช้ยาพ่นสเตียรอยด์เพื่อควบคุมอาการอย่างต่อเนื่อง (หรือ ICS + LABA หรือ Spiriva)

- การใช้ยาพ่นเพื่อบรรเทาอาการเป็นครั้งคราว

- สอนวิธีการใช้ยาพ่นที่ถูกวิธี

แนะนำให้ฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ทุกปี

 

E – สิ่งแวดล้อม และสภาพเศรษฐกิจ

- ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เลิกสูบบุหรี่

- หลีกเลี่ยงการสัมผัสมลพิษเป็นประจำ

- การควบคุมความเครียด

T- การรักษาเบื้องต้น

จำนวนวันที่คาดว่าจะอยู่ในโรงพยาบาล

- วิธีปฏิบัติตัวเมื่อมีอาการเหนื่อยหอบ

- การพ่นยา/ สูดยา บรรเทาอาการก่อนมาโรงพยาบาล

- แนะนำสถานพยาบาลเครือข่ายใกล้บ้าน

- การเรียกบริการการแพทย์ฉุกเฉิน 1669

 

สิ่งที่ต้องเฝ้าระวังเมื่ออยู่ในโรงพยาบาล

(Specific clinical risks)

  • Acute respiratory failure
  • Pneumonia
  • Pneumothorax
  • AMI

H – การดูแลสุขภาพที่จำเป็น

- การฝึกการบริหารกล้ามเนื้อหายใจ

- การรักษาด้วยออกซิเจนระยะยาวที่บ้าน

เมื่อมีข้อบ่งชี้

- การงดสูบบุหรี่

- การออกกำลังกายตามความเหมาะสม

 

แผนการรักษาอื่นๆ

O – การส่งต่อ/ การรักษาแบบผู้ป่วยนอก

- การมาตรวจตามแพทย์นัดหรือส่งต่อ

- การเยี่ยมบ้าน

 

แพทย์

D – อาหาร

- ในผู้ป่วยที่มีภาวะขาดอาหาร ควรได้รับอาหารพลังงานสูง และกลุ่มโปรตีน

 

 

 

 

             ชื่อ ............................. สกุล ...................................... อายุ .............. ปี  HN ........................  AN...............................  

 

 

ย้อนกลับ


 
Visitor  : วันนี้ 107 | เดือนนี้ : 5805 | ปีนี้ : 96007 | รวม : 429243 โรงพยาบาลบ่อพลอย 211 ม. 1 ต. บ่อพลอย อ. บ่อพลอย จ. กาญจนบุรี โทรศัพท์ 034 – 581139 โทรสาร 034 – 581160 E-mail : bophloi_hospital@hotmail.com